-การกำหนด subscript แต่ละตัวจะประกอบไปด้วย ค่าสูงสุดและค่าต่ำสุดของ subscript นั้น
-ได้รู้ว่าค่า subscript ที่ใช้อ้างอิงถึงสมาชิกจะต้องมีค่ามากกว่า หรือเท่ากับขอบเขตล่าง และน้อยกว่าหรือเท่ากับขอบเขตบน
-การกำหนดอะเรย์จะต้องกำหนดชื่ออะเรย์ พร้อม subscript ซึ่งเป็นตัวกำหนดขอบเขตของอะเรย์
-จำนวนสมาชิกหรือขนาดของอะเรย์ n มิติ หาได้จาก
ขนาดของอะเรย์ = ผลคูณของขนาดของ subscript แต่ละตัว
-ได้รู้วิธีการ input-process-output
- การจัดเก็บอะเรย์ในหน่วยความจำหลักจะใช้เนื้อที่ขนาดเท่ากันเพื่อเก็บสมาชิกแต่ละตัว โดยเนื้อที่จะเรียงต่อเนื่องกัน
-อะเรย์ 1มิติ
รูปแบบ data-type array-neme[expression]
-การส่งอะเรย์ให้ฟังก์ชั่นทำได้ 2 ลักษณะคือ
1. การกำหนด array element เป็นพารามิเตอร์ส่งค่าให้กับฟังก์ชั่น ทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์พร้อมระบุ subscript
2. ส่งอะเรย์ทั้งชุดให้ฟังก์ชั่นทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์โดยไม่มี subscript
อะเรย์ 2มิติ
รูปแบบ
type array-name[n] [m];
DTS 02-24-06-2552
วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น